About ฟ้อนเล็บ



การละเล่นพื้นเมือง ภาคเหนือ ล้านนา การแสดงพื้นเมือง ภาคเหนือ ล้านนา

ฟ้อนเล็บเป็นศิลปะการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ทางภาคเหนือโดยเฉพาะรูปแบบการฟ้อนมีอยู่ ๒ แบบ คือแบบพื้นเมืองหรือฟ้อนเมือง และแบบคุ้มเจ้าหลวง กระบวนท่ารำเป็นลีลาท่าฟ้อนที่มีความงดงามเช่นเดียวกับฟ้อนเทียน เพลงแต่ไม่ถือเทียน นิยมฟ้อนในเวลากลางวัน สำหรับชื่อชุดการแสดงจะมีความหมายตามลักษณะของผู้แสดงที่จะสวมเล็บยาวสีทองทุกนิ้ว ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ

ท่ารำต่าง ๆ ดังกล่าว อาจมีการเพิ่มท่า ตัดตอน หรือลำดับท่าก่อนหลังตามที่ครูจะกำหนด

การแต่งกาย จะเลียนแบบการแต่งกายของชาวไทยใหญ่ โดยมีการดัดแปลงเครื่องแต่งกายออกไปบ้าง โดยใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก นุ่งโสร่งสั้นเพียงเข่า หรือกางเกงขากว้างๆ หรือบ้างก็นุ่งโสร่งเป็นแบบโจงกระเบนก็มี ใช้ผ้าโพกศีรษะ มีผ้าคาดเอว ใส่เครื่องประดับ เช่น กำไลมือ กำไลเท้า สร้อยคอ และใส่ตุ้มหู

สิบสองเป็ง วันปล่อยผี ฮาโลวีนล้านนา

แต่เดิมนั้นฟ้อนเล็บจะแสดงในงานฉลองสมโภชเพื่อนำขบวนทานหรืองานมหรสพปัจจุบันมีการแสดงให้นักท่องเที่ยวได้ชมจึงมีปรากฏให้เห็นตามโรงแรม ห้องอาหารโดยทั่วไป

วัดศรีดอนไชย ตำบลช้างคลาน อำเภอเมืองเชียงใหม่

ฟ้อนเงี้ยว เป็นการฟ้อนที่ได้รับอิทธิพลมาจากการฟ้อนของเงี้ยวหรือไทยใหญ่ ประกอบด้วย ช่างฟ้อนหญิงชายหลายคู่ แต่งกายด้วยชุดพื้นเมืองไทยใหญ่ การฟ้อนเงี้ยวเหมาะสำหรับผู้ชาย แต่ต่อมาเพื่อให้เกิดความสวยงาม จึงมีการใช้ผู้หญิงล้วน หรือใช้ทั้งชายและหญิงแสดงเป็นคู่ๆ มีลีลาการฟ้อนที่แปลกแตกต่างไปจากฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน

สิบสองเป็ง วันปล่อยผี ฮาโลวีนล้านนา

แนวปฏิบัติทางสังคม ฟ้อนเล็บ พิธีกรรม และงานเทศกาล

Audio Đam Mỹ

ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ใช้วงดนตรีพื้นเมือง หรือวงปี่พาทย์ การแต่งกาย ผู้แสดงแต่งกายตามแบบกุลสตรีชาวเหนือ นุ่งซิ่นป้ายลายขวาง สวมเสื้อแขนกระบอก ห่มสไบทับ เกล้าผมประดับดอกไม้ ถ้าเป็นแบบแผนของคุ้มเจ้าหลวงผู้แสดงต้องสวมกำไลเท้า ลักษณะท่ารำเป็นการรำตามทำนองเพลง จุดประสงค์เพื่อเป็นการฟ้อนบวงสรวง หรือฟ้อนต้อนรับตามประเพณีในช่วงเวลากลางวัน ใช้เวลาในการแสดงประมาณ ๑๐ นาที (มีบทร้อง) ๕-๘ นาที (ไม่มีบทร้อง) รูปแบบฟ้อนเมืองยังคงอยู่ แต่รูปแบบคุ้มเจ้าหลวงไม่สู้มีโอกาสการแสดงมากนัก

การแต่งกาย ใช้ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน นิยมแสดงหมู่คราวละหลายคน โดยจำนวนคนเป็นเลขคู่ เช่น ๘ หรือ ๑๐ คน แล้วแต่ความยิ่งใหญ่ของงานนั้น และความจำกัดของสถานที่ โดยผู้แสดงแต่งกายแบบฟ้อนเล็บ คือ การสวมเสื้อแขนกระบอก นุ่งซิ่นมีเชิงกรอมเท้า มุ่นผมมวย มีอุบะห้อยข้างศีรษะ ในมือเป็นสัญลักษณ์ คือ ถือเทียน ๑ เล่ม การแต่งกายของฟ้อนเทียนนี้ ปัจจุบันแต่งได้อีกหลายแบบ คืออาจสวมเสื้อในรัดอก ใส่เสื้อลูกไม้ทับแต่อย่างอื่นคงเดิม และอีกแบบคือสวมเสื้อรัดอก แต่มีผ้าสไบเป็นผ้าทอลายพาดไหล่อย่างสวยงาม แต่ยังคงนุ่งซิ่นกรอมเท้าและมุ่นผมมวย มีอุบะห้อยศีรษะ

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ ธรรมชาติ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *